กากะเยีย ขั้นกะเยีย...ผสานศิลป์ถิ่นอีสาน
ช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-22 ดินแดนลุ่มแม่น้ำโขงแถบประเทศลาว ตลอดจนภาคอีสานของไทยเคยเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านช้างที่มีความรุ่งเรืองด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างเป็นยุคที่มีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับอาณาจักรล้านนา จึงได้น้อมรับเอาอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมการจารคัมภีร์ใบลานด้วยอักษรธรรมตามแบบฉบับล้านนามาพัฒนาจนเป็นอักษรธรรมอีสานหรืออักษรธรรมลาวเพื่อใช้จารจารึกคัมภีร์ในอาณาจักรล้านช้าง
ธุดงค์ธรรมชัย... ฝึกตน ทนหิว บำเพ็ญตบะ เป็นพระแท้
ขอเชิญชวนสาธุชนผู้มีบุญมาโปรยดอกไม้ พนมมือทำความเคารพ และเปล่งเสียงสาธุการถวายการต้อนรับคณะธุดงค์ เพื่อก่อให้เกิดผลานิสงส์ผลบุญแก่ตนเอง หมู่ญาติ บรรพบุรุษ และท้องถิ่นที่คณะพระธุดงค์ธรรมยาตราผ่านไป โดยดูรายละเอียดได้ที่ www.dmc.tv/tudong หรือ โทร.02-831-1234
กลอนปีใหม่ 2567 รับขวัญวันปีใหม่
กลอนปีใหม่ 2565 จากใจ ถึงใจ สุขสันต์วันปีใหม่ 2567 ส่งกลอนแทนความรู้สึก ถึงคนที่คุณรัก พร้อมทั้งการ์ดวันปีใหม่
รักษ์ศาสน์ วาดศิลป์ แผ่นดินสยาม
บรรพชนชาวสยามน้อมรับเอาพระพุทธศาสนามานับถือและรักษาไว้ ไม่ว่าจะเปลี่ยนผ่าน มากี่ยุคสมัย ผ่านมากี่แผ่นดิน อาณาประชาราษฎร์ล้วนอยู่ร่วมกันอย่างร่มเย็นเป็นสุขภายใต้ พระบรมโพธิสมภารแห่งพระมหากษัตริย์ ผู้ทรงเป็น “ธรรมราชา” องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ปกครองแผ่นดินโดยธรรมตามหลักพระธรรมคำสอนขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ทำบุญ 10 บาทกับทำบุญ 20 บาทได้ผลตอบแทนเท่ากันไหมคะ
คำถาม : ทำบุญ 10 บาท กับทำบุญ 20 บาท ได้ผลตอบแทนเท่ากันไหมคะ?
ภาพคำสอนคุณครูไม่ใหญ่ (หลวงพ่อธัมมชโย)
รวมภาพคำสอน คำคมสอนใจดีๆ และโดนๆ จากคำสอนอันทรงค่าของ หลวงพ่อธัมมชโย
ธัมมัสสวนมัย จิตผ่องใสได้ฟังธรรม
“ภิกษุทั้งหลาย เวลาที่ทรงคุณค่าที่บุคคลให้เป็นไปโดยชอบแล้วย่อมทำให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ เวลาที่ทรงคุณค่า 4 อย่าง คือเวลาฟังธรรมตามกาล เวลาสนทนาธรรมตามกาล เวลาทำความสงบของใจและเวลาพิจารณาธรรมให้เกิดความรู้แจ้ง” (ทุติยกาลสูตร)
15 ค่ำ เดือน 11
15 ค่ำ เดือน 11 บั้งไฟพญานาค คืนอัศจรรย์ วันแห่งศรัทธา
วันเยาวชนแห่งชาติ 2561 ประวัติความเป็นมาคำขวัญภาพกิจกรรม
วันเยาวชนแห่งชาติ 2561 บทความ ประวัติความเป็นมาของวันเยาวชนแห่งชาติ กิจกรรม ประมวลภาพวันเยาวชนแห่งชาติ
เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน
คนในโลกนี้มีหลากหลายความเชื่อ บางครั้งก็มีความเห็นไม่ลงรอยกัน แต่..เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน?